- ผู้เขียน: ไชยันต์ ไชยพร
- สำนักพิมพ์: Way of Book
- จำนวนหน้า: 463 หน้า ปกอ่อน
- พิมพ์ครั้งที่ 1 — มกราคม 2560
- ISBN: 9786163290830
จอน เอลสเตอร์ กับทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล
นี่ไม่ใช่หนังสือที่จะช่วยให้นักอุดมคติฮึกเหิมหรือทำให้นักศีลธรรมบังเกิดศรัทธาพอกพูน แต่มันอาจช่วยให้นักเสรีนิยมเข้าใจวิธีคิดของฝ่ายจารีตและช่วยให้ฝ่ายจารีตเข้าใจความเป็นเหตุเป็นผลแบบเสรีนิยม
ภาคแรก
I: ความสำคัญของทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทรัฐศาสตร์อเมริกัน : ประวัติความเป็นมา
II: การศึกษาทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทรัฐศาสตร์ไทย: หลักการและเหตุผลสำหรับการศึกษาทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของ จอน เอลสเตอร์
III: อิทธิพลจากฐานคิดปรัชญาเศรษฐศาสตร์ต่อทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล:ปรัชญาเศรษฐศาสตร์ของคอลลิงวูด
IV: ระเบียบวิธีศึกษา สถานะ เป้าหมาย หลักการและเหตุผลของทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล:เข้าในทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของเอลสเตอร์อย่างที่เขาเข้าใจ
V: ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: ในฐานะพัฒนาการความก้าวหน้าขององค์ความรู้ในการศึกษาเรื่อง ‘เหตุผล’ ของมนุษย์ ฯลฯ
ภาคที่สอง
เข้าใจทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของเอลสเตอร์ในบริบทปรัชญาการเมือง:ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทปรัชญาการเมือง
I: ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในฐานะทฤษฎีการเมืองเชิงคุณค่า (Normative Pollitical Theory)
II: เหตุผลกับจารีตประเพณีวัฒนธรรม (Reason vs Nomos)
III: ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล – เศรษฐศาสตร์ – อรรถประโยชน์ โธมัส ฮอบส์
IV: ปรัตถนิยม (Altruism): มาเคียวเวลลี-รุสโซ
V: เหตุผล-ภาษา: อริสโตเติล ฯลฯ